[x] ปิดหน้าต่างนี้
Powered by ATOMYMAXSITE 2.5
ศูนย์กระจายสื่อการศึกษา สำนักงาน กศน.จังหวัดภูเก็ต
ยินดีต้อนรับคุณ บุคคลทั่วไป  
English Chinese (Simplified) Chinese (Traditional) French German Italian Japanese Korean Portuguese Russian Spanish Vietnamese Thai     
ค้นหา   
เมนูหลัก
ระบบสมาชิก
Username :
Password :
[ สมัครสมาชิก ] | [ ลืมรหัสผ่าน ]
สมาชิกทั้งหมด 2 คน
สมาชิกที่กำลังออนไลน์ 0 คน
หมวดหมู่ blog
ค้นหาจาก google
poll

   คุณคิดว่าเวปนี้เป็นอย่างไร


  1. ดีมาก
  2. ดี
  3. ปานกลาง
  4. แย่
  5. แย่มาก


สถิติผู้เยี่ยมชม

 เริ่มนับ 22/ก.ค./2557
ผู้ใช้งานขณะนี้ 7 IP
ขณะนี้
7 คน
สถิติวันนี้
401 คน
สถิติเมื่อวานนี้ี้
73 คน
สถิติเดือนนี้
1282 คน
สถิติปีนี้
10671 คน
สถิติทั้งหมด
25479 คน
IP ของท่านคือ 3.17.78.184
(Show/hide IP)


  

   เว็บบอร์ด >> ห้องนั่งเล่น >>
หมอธีระวัฒน์ เผย คนนอนหลับยาก นอนแล้วตื่นเป็นพัก ๆ บ่งบอกถึง โรคสมองเสื่อม  VIEW : 42    
โดย Ap

UID : ไม่มีข้อมูล
โพสแล้ว : 26
ตอบแล้ว :
เพศ :
ระดับ : 4
Exp : 14%
เข้าระบบ :
ออฟไลน์ :
IP : 184.82.25.xxx

 
เมื่อ : อาทิตย์ ที่ 19 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2566 เวลา 17:18:35    ปักหมุดและแบ่งปัน

หมอธีระวัฒน์ เผย คนนอนยาก หรือนอนไปแล้วตื่นเป็นพัก ๆ สอนเล่นบาคาร่า บ่งบอกถึงสภาพความแปรปรวนการทำงานของสมอง และ โรคสมองเสื่อม ในแบบต่างๆ นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านสมอง หัวหน้าศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โพสต์บทความผ่านเฟซบุ๊กส่วนตัว หัวข้อ “ลักษณะของการหลับผิดปกติ บ่งถึงโรคสมองเสื่อมชนิดต่าง ๆ” โดยระบุดังนี้ กลไกของการควบคุมการตื่นและหลับนั้น เหมือนกับ การ เปิด-ปิด สวิตซ์ โดยมี กลุ่มเซลล์สมองที่กระตุ้นให้ตื่นหรือเปิดสวิตซ์ WPN (wake-promoting neurons) อาทิ Noradrenergic locus coeruleus (LC) และ Orexin/hyprocretin-producing neuron ที่อยู่ในบริเวณ Lateral hypothalamus area และอีกกลุ่มคือ Histaminergic neurons ใน tuberomamillary nucleus (TMN)ขณะที่สวิตซ์เปิด กลุ่มเซลล์ประสาทให้หลับ SPN (sleep-promoting neurons) จะถูกยับยั้ง ทั้งสองกลุ่มนี้อยู่ในบริเวณที่ลึกลงไปในเนื้อสมอง

สอนเล่นบาคาร่า ออโต้ อัลไซเมอร์ ระยะเวลาของการนอนยังค่อนข้างปกติ แต่มีการตื่นบ่อยเป็นระยะ (sleep fragmentation) พ่วงไปกับการงีบหลับบ่อยตอนกลางวันและปลุกให้ตื่นยาก แถมยังมีสับสนตอนโพล้เพล้ ใน progressive supra nuclear palsy (PSP) ระยะเวลาของการนอนจะสั้นลง และหลับยาก และช่วงเวลาของการหลับแบบมีและไม่มีการกลอกลูกตาเร็ว (REM และ NREM) จะสั้นลง พร้อมกับที่คลื่นไฟฟ้าแกมมา จะมีมากขึ้นทั้งในขณะตื่นและหลับ (hyperarousal) ใน CBD หรือ corticobasal degeneration ความแปรปรวนของการหลับตื่นจะไม่ชัดเจนเท่ากับในอัลไซเมอร์ และ PSP ดังนั้นความผิดปกติของการนอน นอนยาก นอนไปแล้วตื่นเป็นพัก ๆ นอนได้ไม่นาน จนกระทั่งนอน แล้วมีฝันร้าย ฝันผวา ฝันผจญภัย เหล่านี้บ่งบอกถึงความแปรปรวนการทำงานของสมองและลักษณะของสมองเสื่อมแบบต่าง ๆ