หน้าหลัก    ผลงานของเรา    รายละเอียด 
ผลงานของเรา
 
  รายงานผลการดำเนินงานประจำปี 2561  
       ส่วนที่ ๓ รายงานผลการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๑ กศน.ตำบลป่าตอง โครงการการจัดการศึกษาศึกษาขั้นพื้นฐาน ความสอดคล้องกับนโยบาย 1.1 เร่งด่วนเพื่อร่วมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ : ยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคนให้มีคุณภาพ ข้อ 3.7 ยกระดับคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1.2 สำนักงาน กศน. : ภารกิจต่อเนื่อง : ด้านการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ ข้อ 1.1 การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน(1-3) ...................................................................................................................................................................................... ๑. หลักการและเหตุผล นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงานของสำนักงาน กศน. มุ่งเน้นให้จัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อให้คนไทยได้รับการศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ ยกระดับการศึกษา พัฒนาทักษะการเรียนรู้ของประชาชนผู้ด้อย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา รวมทั้งสร้างเสริมและปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม การยกระดับคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น จึงได้จัดโครงการนี้ขึ้น ๒. วัตถุประสงค์ ๒.1 เพื่อจัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้ประชาชนผู้ด้อยโอกาส พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา ๒.2 เพื่อสร้างเสริมและปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม และความเป็นพลเมืองอันนำไปสู่การยกคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ๓. เป้าหมาย เชิงปริมาณ - จำนวนนักศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานทุกระดับ รวมทั้งสิ้น ๒๔๘ คน รายละเอียด ดังนี้ ระดับ = ประถม... ๔ คน = ม.ต้น…… ๙๑ คน = ม.ปลาย…๑๕๓ คน เชิงคุณภาพ - ประชาชนผู้ด้อยโอกาส พลาด ขาดโอกาสทางการศึกษาให้ได้รับการศึกษาอย่างทั่วถึง - สร้างเสริมและปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ให้เป็นพลเมืองดีและสามารถยกระดับคุณภาพชีวิตที่ดี ๔. ผลการดำเนินงาน ๑. การใช้จ่ายงบประมาณ ๒. ผลผลิตของการดำเนินงาน งบประมาณ ที่ได้รับจัดสรร (บาท) ผลการเบิกจ่าย ร้อยละ จำนวนผู้รับบริการ (คน) ร้อยละ บาท สต. เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ - - - - ๒๔๘ คน ๒๔๘ คน ตัวชี้วัดผลผลิต (Out puts) - ประชาชนผู้ด้อยโอกาส พลาด ขาดโอกาสทางการศึกษาให้ได้รับการศึกษาอย่างทั่วถึง ร้อยละ ๘๐ - สร้างเสริมและปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ให้เป็นพลเมืองดีและสามารถยกระดับ คุณภาพชีวิตที่ดี ร้อยละ ๘๐ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ (Out comes) - ประชาชนผู้ด้อยโอกาส พลาด ขาดโอกาสทางการศึกษาให้ได้รับการศึกษาอย่างทั่วถึงและนำความรู้ไปพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นร้อยละ80 - ผู้สำเร็จหลักสูตรแต่ละภาคเรียนได้รับการศึกษาสูงขึ้นร้อยละ 80 - ประชาชนผู้ด้อยโอกาส พลาด ขาดโอกาสทางการศึกษาที่ได้รับการศึกษาปฏิบัติตนตามหลักคุณธรรม จริยธรรมและความเป็นพลเมืองดีร้อยละ 80 ๑๐๐ - - - - ๒๔๘ คน ๒๔๘ คน ๑๐๐ ๕. ดัชนีวัดผลสำเร็จของโครงการ ๑. ตัวชีวัดผลผลิต (Outputs) ๑.จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม/โครงการ þ บรรลุตามเป้าหมายที่กำหนด o ไม่บรรลุ เพราะ ....... ๒. ตัวชี้วัดผลลัพธ์ (Outcomes) ๑. ร้อยละ ๘๐ สร้างเสริมและปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ให้เป็นพลเมืองดีและสามารถยกระดับ คุณภาพชีวิตที่ดี ๒. ร้อยละ ๘๐ ผู้สำเร็จหลักสูตรแต่ละภาคเรียนได้รับการศึกษาสูงขึ้น ๓. ร้อยละ ๘๐ ประชาชนผู้ด้อยโอกาส พลาด ขาดโอกาสทางการศึกษาที่ได้รับการศึกษาปฏิบัติตนตามหลักคุณธรรม จริยธรรมและความเป็นพลเมืองดี þ บรรลุตามเป้าหมายที่กำหนดเกิน ร้อยละ ๘๐ o ไม่บรรลุ เพราะ............... Fจัดการศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ตารางแสดงจำนวนผู้รับบริการ โครงการการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาคเรียน ที่ ระดับ เป้าหมาย (คน) ผลผลิต (คน) งบประมาณ (บาท) ชาย หญิง รวม 1/2561 ประถม ๔ ๑ ๓ ๔ ๗,000 ม.ต้น ๙๑ ๔๖ ๔๕ ๙๑ ๒๐๙,๓00 ม.ปลาย ๑๕๓ ๖๔ ๘๙ ๑๕๓ ๓๕๑,๙00 สรุปจำนวนนักศึกษา 24๘ 1๑๑ ๑๓๗ 24๘ ๕๖๘,200 สรุปผลเชิงปริมาณและคุณภาพ ๑. จำนวนผู้รับบริการในเชิงปริมาณ จำนวน ๒๔๘ ๒. จำนวนผู้รับบริการในเชิงคุณภาพ ¨ เท่ากับเกณฑ์เป้าหมายที่กำหนด R เกินเกณฑ์ที่กำหนดที่กำหนด ¨ ไม่เป็นตามเกณฑ์เป้าหมายที่กำหนด ๖.จุดเด่น/การจัดกิจกรรม ๑. หลักสูตรเหมาะสมกับผู้เรียน ๒. หลักสูตรมีความสอดคล้องกับความต้องการผู้เรียน ๓. เนื้อหาของหลักสูตรสามารถไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ๔. ครูมีความรู้และประสบการณ์ในเนื้อหาสาระที่สอน ๕. มีสื่อประกอบการสอนสอดคล้องกับสาระการเรียนรู้ที่หลากหลาย ๖. สถานศึกษามีการส่งเสริมพัฒนาแหล่งเรียนรู้/ภูมิปัญญาท้องถิ่นในชุมชนเพื่อการเรียนรู้ ๗. มีการสนับสนุนการจัดทำและจัดเก็บสื่อการเรียนการสอนอย่างเป็นระบบ ๘. ระยะเวลาของการจัดการเรียนการสอนมีความเหมาะสม ๙. หนังสือแบบเรียน เอกสารเพียงพอต่อการศึกษาค้นคว้า ๗.ปัญหาและอุปสรรค ๑. ผู้เรียนบางคนมีอายุน้อย และออกมาจากในระบบกลางคันขาดความรับผิดชอบในการเรียน มักจะขาดเรียน หนีเรียน มาสาย ส่งผลให้หยุดเรียนกลางคันในที่สุด ๒. ผู้เรียนมีทักษะการเรียนรู้พื้นฐานที่แตกต่างกัน ทำให้การจัดกระบวนการเรียนการสอนของครูผู้สอนแตกต่างกันไปด้วย ๘.ข้อเสนอแนะ/แนวทางการดำเนินงานต่อไป ๑. ประสานเครือข่ายทั้งภาครัฐและสถานประกอบการ ให้เห็นความสำคัญของการเรียนรู้ส่งเสริม สนับสนุนให้พนักงานได้รับการศึกษาที่สูงขึ้น ๒. ให้คำแนะนำเกี่ยวกับวิธีเรียนที่เหมาะสมแก่ผู้เรียน ๓. หลักฐานที่สำคัญ เช่นใบวุฒิการศึกษาหากไม่สามารถนำมาให้ตามกำหนดเวลาได้ให้มาสมัครเรียนในภาคเรียนต่อไป และไปดำเนินการให้เรียบร้อย ๔. ควรมีการประชาสัมพันธ์ตลอดทั้งปี และต่อเนื่อง ภาพกิจกรรมประกอบผลการดำเนินงาน โครงการการจัดการศึกษาศึกษาขั้นพื้นฐาน @ปฐมนิเทศนักศึกษา ภาคเรียนที่ ๑ / ๒๕๖๑ @ การเรียนการสอนภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๑ @การจัดการเรียนการสอนเสริม สอนเสริมวิชาคณิตศาสตร์ ม.ปลาย ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๑ บรรยากาศการสอนเสริมวิชาคณิตศาสตร์ @ นำเสนอผลงานทางวิชาการ/โครงงานนักศึกษา ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๑ @ สอบกลางภาคและปลายภาคของนักศึกษา กศน.ตำบลป่าตอง ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๑ รายงานผลการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๑ กศน.ตำบลป่าตอง โครงการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ ความสอดคล้องกับนโยบาย 1.1 สำนักงาน กศน. : ภารกิจต่อเนื่อง : ด้านการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ ข้อ 1.3 การศึกษาต่อเนื่อง (1) จัดการศึกษาอาชีพเพื่อมีงานทำอย่างยั่งยืน ...................................................................................................................................................................................... ๑. หลักการและเหตุผล การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ เป็นการจัดการศึกษาเพื่อส่งเสริมพัฒนาความรู้ ความสามารถและทักษะในการประกอบอาชีพของบุคคล กลุ่มบุคคล เพื่อให้มีรายได้เสริมเพิ่มเติมหรือทำเป็นอาชีพหลัก เพื่อแก้ปัญหาการว่างงานและส่งเสริมความเข้มแข็งให้กับบุคคล กลุ่มบุคคล ครอบครัว และเป็นการส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชนให้เข้มแข็งพึ่งตนเองได้อย่างยั่งยืน ในการนี้ กศน.อำเภอกะทู้ ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการดำเนินงานการจัดการศึกษาดังกล่าว จึงจัดโครงการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อฝึกทักษะด้านอาชีพ การพัฒนาอาชีพ การเข้าสู่อาชีพที่ยั่งยืน ๒. วัตถุประสงค์ ๒.1 เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ทักษะในการประกอบอาชีพ ๒.2 เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มเป้าหมายมีทักษะทางด้านอาชีพและต่อยอดอาชีพได้ ๒.3 เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มเป้ามายมีรายได้เพิ่มขึ้นและใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ๓. กลุ่มเป้าหมาย เชิงปริมาณ - จำนวนผู้รับบริการ ๕๗ คน ๕๗ คน (กลุ่มสนใจ ๓๘ คน/1 อำเภอ 1 อาชีพ 1๙ คน) เชิงคุณภาพ - เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความสามารถทักษะในประกอบอาชีพมีทักษะทางด้านอาชีพและนำความรู้ที่ได้รับไปต่อยอดเพิ่มรายได้นำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ @พัฒนาอาชีพ/กลุ่มสนใจ ๑. หลักสูตร การตัดเย็บกระเป๋าเป้ จำนวน ๓๐ ชั่วโมง ๔. ผลการดำเนินงาน ๑. การใช้จ่ายงบประมาณ ๒. ผลผลิตของการดำเนินงาน งบประมาณ ที่ได้รับจัดสรร (บาท) ผลการเบิกจ่าย ร้อยละ จำนวนผู้รับบริการ (คน) ร้อยละ บาท สต. เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ ๑.หลักสูตรการตัดเย็บกระเป๋าเป้ จำนวน ๓๐ ชั่วโมง งบประมาณที่ได้รับ ๗,๐๐๐ บาท ค่าวิทยากร - ๖,๐๐๐ ค่าวัสดุ - ๑,๐๐๐ - ๑๐๐ ๑๐ ๒๓ ตัวชี้วัดผลผลิต (Out puts) - กลุ่มเป้าหมายนำความรู้ความสามารถทักษะในการเรียนรู้ไปพัฒนาตนเองให้เกิดประโยชน์และสร้างรายได้อย่างยั่งยืน ร้อยละ ๘๐ - กลุ่มเป้าหมายมีทักษะทางด้านอาชีพและต่อยอดอาชีพ ร้อยละ ๘๐ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ (Out comes) กลุ่มเป้าหมายนำความรู้และทักษะที่ได้รับการฝึกอาชีพมาต่อยอดอาชีพและมีรายได้เพิ่มขึ้นส่งผลให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ร้อยละ ๘๐ ๑๐๐ ๗,๐๐๐ ๗,๐๐๐ - ๑๐๐ ๑๐ ๒๓ ๑๐๐ ชื่อกิจกรรม/โครงการ หลักสูตร การตัดเย็บกระเป๋าเป้ จำนวน ๓๐ ชั่วโมง (พัฒนาอาชีพ/กลุ่มสนใจ) ระยะเวลาจัดกิจกรรม ระหว่างวันที่ ๖ – ๑๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ สถานที่จัดกิจกรรม ณ กศน.ตำบลป่าตอง จำนวนผู้เรียน ๑๐ คน จำนวนผู้จบ ๒๓ คน งบประมาณที่ใช้ไป ๗,๐๐๐ บาท ครูผู้สอน/วิทยากร นางสาวเปมิกา วรโชคธนานนท์ เครือข่าย/หน่วยงาน ที่ร่วมจัดกิจกรรม - กศน.อำเภอกะทู้ จำนวนผู้เรียนและผู้สำเร็จการศึกษา จำแนกตามอายุและเพศ ได้ดังนี้ เพศ อายุ ต่ำกว่า ๑๕ ปี ๑๕ – ๒๙ ปี ๓๐ – ๓๙ ปี ๔๐ – ๔๙ ปี ๕๐ – ๕๙ ปี ๖๐ ปี ขึ้นไป รวม รวมทั้งสิ้น ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ จำนวนผู้เรียน ๑ ๔ ๗ ๑๑ ๒๓ ๒๓ จำนวนผู้สำเร็จ ๑ ๔ ๗ ๑๑ ๒๓ ๒๓ ภาพกิจกรรม @พัฒนาอาชีพ/กลุ่มสนใจ ๒. หลักสูตร การตัดชุดเดรส จำนวน ๓๐ ชั่วโมง ๔. ผลการดำเนินงาน ๑. การใช้จ่ายงบประมาณ ๒. ผลผลิตของการดำเนินงาน งบประมาณ ที่ได้รับจัดสรร (บาท) ผลการเบิกจ่าย ร้อยละ จำนวนผู้รับบริการ (คน) ร้อยละ บาท สต. เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ ๒.หลักสูตรการตัดชุดเดรส จำนวน ๓๐ ชั่วโมง งบประมาณที่ได้รับ ๗,๐๐๐ บาท ค่าวิทยากร - ๗,๐๐๐ ค่าวัสดุ/ค่าใช้สอย - ๑,๐๐๐ - ๑๐๐ ๑๐ ๑๗ ตัวชี้วัดผลผลิต (Out puts) - กลุ่มเป้าหมายนำความรู้ความสามารถทักษะในการเรียนรู้ไปพัฒนาตนเองให้เกิดประโยชน์และสร้างรายได้อย่างยั่งยืน ร้อยละ ๘๐ - กลุ่มเป้าหมายมีทักษะทางด้านอาชีพและต่อยอดอาชีพ ร้อยละ ๘๐ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ (Out comes) กลุ่มเป้าหมายนำความรู้และทักษะที่ได้รับการฝึกอาชีพมาต่อยอดอาชีพและมีรายได้เพิ่มขึ้นส่งผลให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ร้อยละ ๘๐ ๑๐๐ ๗,๐๐๐ ๗,๐๐๐ - - ๑๐ ๑๗ ๑๐๐ ชื่อกิจกรรม/โครงการ หลักสูตร หลักสูตรการตัดชุดเดรส จำนวน ๓๐ ชั่วโมง (พัฒนาอาชีพ/กลุ่มสนใจ) ระยะเวลาจัดกิจกรรม ระหว่างวันที่ วันที่ ๑ เดือน มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ สิ้นสุด เมื่อวันที่ ๖ เดือน มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ สถานที่จัดกิจกรรม ณ อาคาร ศรช.ตำบลป่าตอง จำนวนผู้เรียน ๑๐ คน จำนวนผู้จบ ๑๗ คน งบประมาณที่ใช้ไป ๗,๐๐๐ บาท ครูผู้สอน/วิทยากร นางมณี ยาดี เครือข่าย/หน่วยงาน ที่ร่วมจัดกิจกรรม - กศน.อำเภอกะทู้ จำนวนผู้เรียนและผู้สำเร็จการศึกษา จำแนกตามอายุและเพศ ได้ดังนี้ เพศ อายุ ต่ำกว่า ๑๕ ปี ๑๕ – ๒๙ ปี ๓๐ – ๓๙ ปี ๔๐ – ๔๙ ปี ๕๐ – ๕๙ ปี ๖๐ ปี ขึ้นไป รวม รวมทั้งสิ้น ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ จำนวนผู้เรียน ๒ ๔ ๑๑ ๑๗ ๑๗ จำนวนผู้สำเร็จ ๒ ๔ ๑๑ ๑๗ ๑๗ ภาพกิจกรรม @พัฒนาอาชีพ/กลุ่มสนใจ ๓. หลักสูตรตัดเย็บเสื้อบาบ๋า จำนวน ๓๐ ชั่วโมง ๔. ผลการดำเนินงาน ๑. การใช้จ่ายงบประมาณ ๒. ผลผลิตของการดำเนินงาน งบประมาณ ที่ได้รับจัดสรร (บาท) ผลการเบิกจ่าย ร้อยละ จำนวนผู้รับบริการ (คน) ร้อยละ บาท สต. เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ ๓.หลักสูตร การตัดเย็บเสื้อบาบ๋า จำนวน ๓๐ ชั่วโมง งบประมาณที่ได้รับ ๗,๐๐๐ บาท ค่าวิทยากร - ๗,๐๐๐ ค่าวัสดุ/ค่าใช้สอย - ๑,๐๐๐ - - ๑๐ ๒๖ ตัวชี้วัดผลผลิต (Out puts) - กลุ่มเป้าหมายนำความรู้ความสามารถทักษะในการเรียนรู้ไปพัฒนาตนเองให้เกิดประโยชน์และสร้างรายได้อย่างยั่งยืน ร้อยละ ๘๐ - กลุ่มเป้าหมายมีทักษะทางด้านอาชีพและต่อยอดอาชีพ ร้อยละ ๘๐ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ (Out comes) กลุ่มเป้าหมายนำความรู้และทักษะที่ได้รับการฝึกอาชีพมาต่อยอดอาชีพและมีรายได้เพิ่มขึ้นส่งผลให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ร้อยละ ๘๐ ๑๐๐ ๗,๐๐๐ ๗,๐๐๐ - - ๑๐ ๒๖ ๑๐๐ ชื่อกิจกรรม/โครงการ หลักสูตร ตัดเย็บเสื้อบาบ๋า จำนวน ๓๐ ชั่วโมง (พัฒนาอาชีพ/กลุ่มสนใจ) ระยะเวลาจัดกิจกรรม ระหว่างวันที่ ๑ เดือน มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ ถึงวันที่ ๖ เดือน มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ สถานที่จัดกิจกรรม ณ อาคาร ศรช.ตำบลป่าตอง อำเภอกะทู้ จังหวัด ภูเก็ต จำนวนผู้เรียน ๑๐ คน จำนวนผู้จบ ๒๖ คน งบประมาณที่ใช้ไป ๗,๐๐๐ บาท ครูผู้สอน/วิทยากร นางมณี ยาดี เครือข่าย/หน่วยงาน ที่ร่วมจัดกิจกรรม กศน.อำเภอกะทู้ จำนวนผู้เรียนและผู้สำเร็จการศึกษา จำแนกตามอายุและเพศ ได้ดังนี้ เพศ อายุ ต่ำกว่า ๑๕ ปี ๑๕ – ๒๙ ปี ๓๐ – ๓๙ ปี ๔๐ – ๔๙ ปี ๕๐ – ๕๙ ปี ๖๐ ปี ขึ้นไป รวม รวมทั้งสิ้น ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ จำนวนผู้เรียน ๑ ๔ ๙ ๑๒ ๒๖ ๒๖ จำนวนผู้สำเร็จ ๑ ๔ ๙ ๑๒ ๒๖ ๒๖ ภาพกิจกรรม @พัฒนาอาชีพ/กลุ่มสนใจ ๔. หลักสูตรกระเป๋ามาดาม จำนวน ๓๐ ชั่วโมง ๔. ผลการดำเนินงาน ๑. การใช้จ่ายงบประมาณ ๒. ผลผลิตของการดำเนินงาน งบประมาณ ที่ได้รับจัดสรร (บาท) ผลการเบิกจ่าย ร้อยละ จำนวนผู้รับบริการ (คน) ร้อยละ บาท สต. เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ ๔.หลักสูตรกระเป๋ามาดาม จำนวน ๓๐ ชั่วโมงงบประมาณที่ได้รับ ๗,๐๐๐.- บาท ค่าวิทยากร - ๖,๐๐๐ ค่าวัสดุ/ค่าใช้สอย - ๑,๐๐๐ - ๑๐๐ ๘ ๒๐ ตัวชี้วัดผลผลิต (Out puts) - กลุ่มเป้าหมายนำความรู้ความสามารถทักษะในการเรียนรู้ไปพัฒนาตนเองให้เกิดประโยชน์และสร้างรายได้อย่างยั่งยืน ร้อยละ ๘๐ - กลุ่มเป้าหมายมีทักษะทางด้านอาชีพและต่อยอดอาชีพ ร้อยละ ๘๐ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ (Out comes) กลุ่มเป้าหมายนำความรู้และทักษะที่ได้รับการฝึกอาชีพมาต่อยอดอาชีพและมีรายได้เพิ่มขึ้นส่งผลให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ร้อยละ ๘๐ ๑๐๐ ๗,๐๐๐.- ๗,๐๐๐.- - ๑๐๐ ๘ ๒๐ ๑๐๐ ชื่อกิจกรรม/โครงการ หลักสูตร กระเป๋ามาดาม จำนวน ๔๐ ชั่วโมง (พัฒนาอาชีพ/กลุ่มสนใจ) ระยะเวลาจัดกิจกรรม ระหว่างวันที่ ๒๕ เดือน พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ สิ้นสุด เมื่อวันที่ ๓๐ เดือน พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ สถานที่จัดกิจกรรม ณ อาคาร ศรช.ตำบลป่าตอง อำเภอกะทู้ จังหวัด ภูเก็ต จำนวนผู้เรียน ๘ คน จำนวนผู้จบ ๒๐ คน งบประมาณที่ใช้ไป ๗๐๐๐.- บาท ครูผู้สอน/วิทยากร นางแสงจันทร์ คงกระพันธ์ เครือข่าย/หน่วยงาน ที่ร่วมจัดกิจกรรม - กศน.อำเภอกะทู้ จำนวนผู้เรียนและผู้สำเร็จการศึกษา จำแนกตามอายุและเพศ ได้ดังนี้ เพศ อายุ ต่ำกว่า ๑๕ ปี ๑๕ – ๒๙ ปี ๓๐ – ๓๙ ปี ๔๐ – ๔๙ ปี ๕๐ – ๕๙ ปี ๖๐ ปี ขึ้นไป รวม รวมทั้งสิ้น ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ จำนวนผู้เรียน ๑ ๒ ๖ ๑๑ ๒๐ ๒๐ จำนวนผู้สำเร็จ ๑ ๒ ๖ ๑๑ ๒๐ ๒๐ ภาพกิจกรรม @ พัฒนาอาชีพ/กลุ่มสนใจ (๑ อำเภอ ๑ อาชีพ) ๑. หลักสูตรตะกร้าจากเชือกฟาง จำนวน ๓๐ ชั่วโมง ๔. ผลการดำเนินงาน ๑. การใช้จ่ายงบประมาณ ๒. ผลผลิตของการดำเนินงาน งบประมาณ ที่ได้รับจัดสรร (บาท) ผลการเบิกจ่าย ร้อยละ จำนวนผู้รับบริการ (คน) ร้อยละ บาท สต. เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ ๑.หลักสูตรตะกร้าจากเชือกฟาง จำนวน ๓๐ ชั่วโมงงบประมาณที่ได้รับ ๗,๐๐๐.- บาท ค่าวิทยากร - ๖,๐๐๐ ค่าวัสดุ/ค่าใช้สอย - ๑,๐๐๐ - ๑๐๐ ๑๐ ๒๙ ตัวชี้วัดผลผลิต (Out puts) - กลุ่มเป้าหมายนำความรู้ความสามารถทักษะในการเรียนรู้ไปพัฒนาตนเองให้เกิดประโยชน์และสร้างรายได้อย่างยั่งยืน ร้อยละ ๘๐ - กลุ่มเป้าหมายมีทักษะทางด้านอาชีพและต่อยอดอาชีพ ร้อยละ ๘๐ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ (Out comes) กลุ่มเป้าหมายนำความรู้และทักษะที่ได้รับการฝึกอาชีพมาต่อยอดอาชีพและมีรายได้เพิ่มขึ้นส่งผลให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ร้อยละ ๘๐ ๑๐๐ ๗,๐๐๐.- ๗,๐๐๐.- - ๑๐ ๒๙ ๑๐๐ ชื่อกิจกรรม/โครงการ หลักสูตร ตะกร้าจากเชือกฟาง จำนวน ๓๐ ชั่วโมง พัฒนาอาชีพ/กลุ่มสนใจ (๑ อำเภอ ๑ อาชีพ) ระยะเวลาจัดกิจกรรม ระหว่างวันที่ ๒๕ เดือน มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ สิ้นสุด เมื่อวันที่ ๓๐ เดือน มีนาคมพ.ศ. ๒๕๖๑ สถานที่จัดกิจกรรม ณ โรงเรียนกะหลิม อำเภอกะทู้ จังหวัด ภูเก็ต จำนวนผู้เรียน ๑๐ คน จำนวนผู้จบ ๒๙ คน งบประมาณที่ใช้ไป ๗,๐๐๐.- บาท ครูผู้สอน/วิทยากร นางเกษร เจริญพร เครือข่าย/หน่วยงาน ที่ร่วมจัดกิจกรรม - กศน.อำเภอกะทู้ จำนวนผู้เรียนและผู้สำเร็จการศึกษา จำแนกตามอายุและเพศ ได้ดังนี้ เพศ อายุ ต่ำกว่า ๑๕ ปี ๑๕ – ๒๙ ปี ๓๐ – ๓๙ ปี ๔๐ – ๔๙ ปี ๕๐ – ๕๙ ปี ๖๐ ปี ขึ้นไป รวม รวมทั้งสิ้น ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ จำนวนผู้เรียน ๑ ๖ ๑๕ ๗ ๒๙ ๒๙ จำนวนผู้สำเร็จ ๑ ๖ ๑๕ ๗ ๒๙ ๒๙ ภาพกิจกรรม @ พัฒนาอาชีพ/กลุ่มสนใจ (๑ อำเภอ ๑ อาชีพ) ๒. หลักสูตรตะกร้าจากเชือกฟาง จำนวน ๓๐ ชั่วโมง ๔. ผลการดำเนินงาน ๑. การใช้จ่ายงบประมาณ ๒. ผลผลิตของการดำเนินงาน งบประมาณ ที่ได้รับจัดสรร (บาท) ผลการเบิกจ่าย ร้อยละ จำนวนผู้รับบริการ (คน) ร้อยละ บาท สต. เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ ๒. หลักสูตรการเพ้นท์ลายผ้าปาเต๊ะ๓ มิติ จำนวน ๓๐ ชั่วโมงงบประมาณที่ได้รับ ๗,๐๐๐.- บาท ค่าวิทยากร - ๖,๐๐๐ ค่าวัสดุ/ค่าใช้สอย ๑,๐๐๐ - ๑๐๐ ๙ ๓๖ ตัวชี้วัดผลผลิต (Out puts) - กลุ่มเป้าหมายนำความรู้ความสามารถทักษะในการเรียนรู้ไปพัฒนาตนเองให้เกิดประโยชน์และสร้างรายได้อย่างยั่งยืน ร้อยละ ๘๐ - กลุ่มเป้าหมายมีทักษะทางด้านอาชีพและต่อยอดอาชีพ ร้อยละ ๘๐ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ (Out comes) กลุ่มเป้าหมายนำความรู้และทักษะที่ได้รับการฝึกอาชีพมาต่อยอดอาชีพและมีรายได้เพิ่มขึ้นส่งผลให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ร้อยละ ๘๐ ๑๐๐ ๗,๐๐๐.- ๗,๐๐๐.- - ๑๐๐ ๙ ๓๖ ๑๐๐ ชื่อกิจกรรม/โครงการ หลักสูตรการเพ้นท์ลายผ้าปาเต๊ะ๓ มิติ จำนวน ๓๐ พัฒนาอาชีพ/กลุ่มสนใจ (๑ อำเภอ ๑ อาชีพ) ระยะเวลาจัดกิจกรรม ระหว่างวันที่ ๒๘ เดือน มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๑ สิ้นสุด เมื่อวันที่ ๓ เดือน กรกฎาคมพ.ศ. ๒๕๖๑ สถานที่จัดกิจกรรม ณ อาคารศูนย์ชมรมผู้สูงอายุเทศบาลเมืองป่าตอง จำนวนผู้เรียน ๙ คน จำนวนผู้จบ ๓๖ คน งบประมาณที่ใช้ไป ๗,๐๐๐.- บาท ครูผู้สอน/วิทยากร นางจินตนา แดงบุญ เครือข่าย/หน่วยงาน ที่ร่วมจัดกิจกรรม - กศน.อำเภอกะทู้ ,เทศบาลเมืองป่าตอง จำนวนผู้เรียนและผู้สำเร็จการศึกษา จำแนกตามอายุและเพศ ได้ดังนี้ เพศ อายุ ต่ำกว่า ๑๕ ปี ๑๕ – ๒๙ ปี ๓๐ – ๓๙ ปี ๔๐ – ๔๙ ปี ๕๐ – ๕๙ ปี ๖๐ ปี ขึ้นไป รวม รวมทั้งสิ้น ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ จำนวนผู้เรียน ๑ ๖ ๑๕ ๗ ๒๙ ๒๙ จำนวนผู้สำเร็จ ๑ ๖ ๑๕ ๗ ๒๙ ๒๙ ภาพกิจกรรม ๕. ดัชนีวัดผลสำเร็จของโครงการ ๑. ตัวชีวัดผลผลิต (Outputs) ๑.จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม/โครงการ þ บรรลุตามเป้าหมายที่กำหนด o ไม่บรรลุ เพราะ............... ๒. ตัวชีวัดผลลัพธ์ (Outcomes) ๑. ร้อยละ ๘๐ เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความสามารถทักษะในประกอบอาชีพมีทักษะทางด้านอาชีพและนำความรู้ที่ได้รับไปต่อยอดเพิ่มรายได้นำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ þ บรรลุตามเป้าหมายที่กำหนดเกิน ร้อยละ ๘๐ o ไม่บรรลุ เพราะ............... จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ/โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน กศน.ตำบลป่าตอง ได้ดำเนินการจัดกิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ/โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ในปีงบประมาณ ๒๕๕๙ ไตรมาสที่ ๑ - ๔ (ตุลาคม ๒๕๖๑ – กันยายน ๒๕๖๑) ซึ่งผลการดำเนินงาน ปรากฏว่ามีผู้รับบริการ บรรลุผล ตามเกณฑ์เป้าหมายที่กำหนด คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ ดังนี้ ตารางแสดงผลการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ/โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน กิจกรรม/โครงการ ไตรมาส ๑ - ๒ ไตรมาส ๓ - ๔ ร้อยละ เป้า ผล ร้อยละ เป้า ผล ร้อยละ พัฒนาอาชีพ/กลุ่มสนใจ ๒๐ ๔๐ ๑๐๐ ๑๘ ๔๖ ๑๐๐ ๑๐๐ พัฒนาอาชีพ/กลุ่มสนใจ (๑ อำเภอ ๑ อาชีพ) ๑๐ ๒๙ ๑๐๐ ๙ ๓๖ ๑๐๐ ๑๐๐ รวม ๓๐ ๖๙ ๑๐๐ ๒๘ ๘๒ ๑๐๐ ๑๐๐ สรุปผลเชิงปริมาณและคุณภาพ ๑. จำนวนผู้รับบริการในเชิงปริมาณ จำนวน ๕๘ ๒. จำนวนผู้รับบริการในเชิงคุณภาพ ¨ เท่ากับเกณฑ์เป้าหมายที่กำหนด R เกินเกณฑ์ที่กำหนดที่กำหนด ¨ ไม่เป็นตามเกณฑ์เป้าหมายที่กำหนด ๖.จุดเด่น/การจัดกิจกรรม ๑. ด้านวิทยากร - วิทยากรมีทักษะในการถ่ายทอดให้กับผู้เรียน เป็นกันเองกับผู้เรียนสอนเสริมและเพิ่มทักษะในการสอนด้วย มีเทคนิคต่าง ๆ เพื่อทำให้เกิดความรู้ เข้าใจง่าย ได้สาระ - สอนและอธิบายเนื้อหาให้เข้าใจได้ง่ายและมีความรู้ในเนื้อหาที่สอนเป็นอย่างดี ๒.ด้านหลักสูตร/เนื้อหา - เนื้อหาหลักสูตรตรงกับความต้องการของผู้เข้าร่วมอบรม - สามารถศึกษาเนื้อหาบทเรียนได้ด้วยตนเองในระดับเบื้องต้น สามารถทำความเข้าใจได้ง่าย - เป็นโครงการที่สร้างทักษะในการพัฒนาอาชีพเป็นการสร้างโอกาสให้ผู้มีรายได้น้อยได้รับการฝึกทักษะอาชีพ ๓.ด้านความเหมาะสมของสื่อ - สื่อที่ใช้มีความเหมาะสมกับหลักสูตรและความต้องการของผู้เรียน - วัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือในการปะกอบฝึกทักษะอาชีพมีเพียงพอต่อผู้เรียน ๔. ด้านการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน - เมื่อผู้เรียนเรียนจบหลักสูตรสามารถที่จะนำความรู้ที่ได้ไปประกอบอาชีพได้ ๕.ด้านสถานที่ - ห้องเรียนเหมาะสมในการเรียนการเรียนการสอน ๗.ปัญหาและอุปสรรค - ไม่มี ๘.ข้อเสนอแนะ/แนวทางการดำเนินงานต่อไป - ในปีงบประมาณ ๒๕๖๒ ผู้เข้าร่วมโครงการอยากให้จัดกิจกรรมลักษณะนี้ขึ้นอีกและต่อยอดในการสร้างรายได้ รายงานผลการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๑ กศน.ตำบลป่าตอง โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนสู่วิสาหกิจชุมชน ; ชุมชนพึ่งตนเอง ทำได้ ขายเป็น (จัดแบบชั้นเรียน 30 ชั่วโมงขึ้นไป) ความสอดคล้องกับนโยบาย 1.1 เร่งด่วนเพื่อร่วมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ : ยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคนให้มีคุณภาพ ข้อ 3.5 ศูนย์อาชีพชุมชนสู่ “วิสาหกิจชุมชน:ชุมชนพึ่งตนเอง ทำได้ ขายเป็น” 1.2 สำนักงาน กศน. : ภารกิจต่อเนื่อง : ด้านการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ ข้อ 1.3 การศึกษาต่อเนื่อง (1) จัดการศึกษาอาชีพเพื่อมีงานทำอย่างยั่งยืน...................................................................................................................................................................................... ๑. หลักการและเหตุผล ในภาวะเศรษฐกิจปัจจุบันการส่งเสริมการจัดการศึกษาอาชีพ มีความสำคัญและจำเป็นอย่างยิ่ง เพื่อเพิ่มรายได้และการมีงานทำและเพื่อแก้ปัญหาการว่างงานในชุมชน การจัดการศึกษาด้านอาชีพที่สอดคล้องกับศักยภาพของชุมชนและความต้องการของการตลาดจะช่วยให้บุคคลในชุมชนมีรายได้ และพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน สามารถรวมกลุ่มสร้างเครือข่ายในลักษณะวิสาหกิจชุมชนเป็นชุมชนที่เข้มแข็ง ในการนี้ กศน.อำเภอกะทู้ ได้ให้ความสำคัญของการส่งเสริมอาชีพตามความต้องการและศักยภาพของชุมชน จึงจัดโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนสู่วิสาหกิจชุมชน ; ชุมชนพึ่งตนเอง ทำได้ ขายเป็น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างรายได้และสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนได้มีงานทำ มีรายได้ มีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน ๒. วัตถุประสงค์ ๒.1 เพื่อส่งเสริมการจัดศึกษาอาชีพตามศักยภาพและความต้องการของชุมชนและตลาด ๒.2 เพื่อสร้างความเข้มแข็งและเพิ่มรายได้กับกลุ่มอาชีพในท้องถิ่น ๒.3 เพื่อส่งเสริมการเพิ่มมูลค่าสินค้า เผยแพร่ จำหน่ายผลิตภัณฑ์ของวิสาหกิจชุมชน ๓. กลุ่มเป้าหมาย เชิงปริมาณ - จำนวนผู้รับบริการ ๓0 คน เชิงคุณภาพ - กลุ่มเป้าหมายนำความรู้ ทักษะไปประกอบอาชีพตามความต้องการและมีรายได้ @ จัดแบบชั้นเรียน 30 ชั่วโมงขึ้นไป ๑. หลักสูตร ภาษาจีนเพื่อการอาชีพพนักงานบริการ จำนวน ๔๐ ชั่วโมง ๔. ผลการดำเนินงาน ๑. การใช้จ่ายงบประมาณ ๒. ผลผลิตของการดำเนินงาน งบประมาณ ที่ได้รับจัดสรร (บาท) ผลการเบิกจ่าย ร้อยละ จำนวนผู้รับบริการ (คน) ร้อยละ บาท สต. เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ ๑. หลักสูตร ภาษาจีนเพื่อการอาชีพพนักงานบริการ จำนวน ๔๐ ชั่วโมง งบประมาณที่ได้รับ ๑๑,๐๐๐.- บาท ค่าวิทยากร - ๘,๐๐๐ ค่าวัสดุ/ค่าใช้สอย ๓,๐๐๐ - ๑๐๐ ๑๕ ๑๗ ตัวชี้วัดผลผลิต (Out puts) - กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ทักษะด้านอาชีพตามศักยภาพและความต้องการของชุมชนและตลาด ร้อยละ ๘๐ - กลุ่มเป้าหมายมีรายได้เสริมเพิ่มขึ้นและมีการต่อยอดเพิ่มมูลค่าสินค้า เผยแพร่ จำหน่ายผลิตภัณฑ์ของวิสาหกิจชุมชน ร้อยละ ๘๐ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ (Out comes) กลุ่มเป้าหมายนำความรู้และทักษะที่ได้รับการฝึกอาชีพมาต่อยอดอาชีพและมีรายได้เพิ่มขึ้นส่งผลให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ร้อยละ ๘๐ ๑๐๐ ๑๑,๐๐๐.- ๑๑,๐๐๐.- - ๑๐๐ ๑๕ ๑๗ ๑๐๐ ชื่อกิจกรรม/โครงการ หลักสูตร ภาษาจีนเพื่อการอาชีพพนักงานบริการ จำนวน ๔๐ ชั่วโมง จัดแบบชั้นเรียน 30 ชั่วโมงขึ้นไป ระยะเวลาจัดกิจกรรม ระหว่างวันที่ ๑๒ เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๑ ถึงวันที่ ๑ เดือน มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ สถานที่จัดกิจกรรม ณ โรงแรมป่าตองรีสอร์ท จำนวนผู้เรียน ๑๕ คน จำนวนผู้จบ ๑๗ คน งบประมาณที่ใช้ไป ๑๑,๐๐๐.- บาท ครูผู้สอน/วิทยากร นางสาวพิชญา ชนประชา เครือข่าย/หน่วยงาน ที่ร่วมจัดกิจกรรม - กศน.อำเภอกะทู้ ,เทศบาลเมืองป่าตอง จำนวนผู้เรียนและผู้สำเร็จการศึกษา จำแนกตามอายุและเพศ ได้ดังนี้ เพศ อายุ ต่ำกว่า ๑๕ ปี ๑๕ – ๒๙ ปี ๓๐ – ๓๙ ปี ๔๐ – ๔๙ ปี ๕๐ – ๕๙ ปี ๖๐ ปี ขึ้นไป รวม รวมทั้งสิ้น ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ จำนวนผู้เรียน ๒ ๓ ๑ ๕ ๒ ๑ ๓ ๗ ๑๐ ๑๗ จำนวนผู้สำเร็จ ๒ ๓ ๑ ๕ ๒ ๑ ๓ ๗ ๑๐ ๑๗ ภาพกิจกรรม @ จัดแบบชั้นเรียน 30 ชั่วโมงขึ้นไป ๒. หลักสูตรภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยวและบริการ จำนวน ๔๐ ชั่วโมง ๔. ผลการดำเนินงาน ๑. การใช้จ่ายงบประมาณ ๒. ผลผลิตของการดำเนินงาน งบประมาณ ที่ได้รับจัดสรร (บาท) ผลการเบิกจ่าย ร้อยละ จำนวนผู้รับ